วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

อุณหพลศาสร์ (Thermodynamics)

 เป็นแขนงวิชาที่ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้นกับกระบวนการทางเคมีและฟิสิกส์  การศึกษาวิชานี้ทำให้ทราบว่าปฏิกิริยาหนึ่งๆจะเกิดขึ้นหรือไม่ หรือสามารถเกิดขึ้นได้เองหรือไม่และมีปริมาณพลังงานความร้อนเกี่ยวข้องด้วยเท่าใด เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน เป็นต้น

กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์         กฎข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์         

- พลังงาน                                         - กระบวนการที่เกิดได้เอง

- งาน PV                                          - เอนโทรปี

- เอนทัลปี                                         - พลังงานอิสระกิบส์

- ความจุความร้อน

- พลังงานพันธะ

กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์

      กฎทรงพลังงาน : พลังงานที่ไม่อาจเกิดขึ้น หรือ ถูกทำลายได้และไม่สูญหาย  แต่อาจเปลี่ยนพลังงานจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ โดยพลังงานก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลงจะต้้องเ่ท่าเดิม


** ชนิดตัวแปร **


เอนทัลปี


q   คือ ความร้อนที่ถ่ายเถระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
W  คือ งานที่ระบบให้กับสิ่งแวดล้อม หรือ สิ่งแวดล้อมให้กับระบบ

*หน่วยของตัวแปร*
P = atm
V = L

*การเปลี่ยนหน่วย*
                        1 L.atm  =  101.3  J
                        1 J        =   4.138 cal


การหาการถ่ายเทความร้อน แบ่งได้ 5 กรณี ดังนี้

1.เทียบหาจากความสัมพันธ์จากสมการ (โดยใช้ปริมาณสารสัมพันธ์)
2.เอนทัลปีมาตราฐาน หรือ ค่าเอนทัลปีมาตราฐานของการเกิด
3.หา H จากพลังงานพันธะ





4.หา H จากกฎของเฮสส์ (Hess's law)
   หลักการ : เป็นการบวกสมการย่อยที่กำหนดให้ ให้เหมือนสมการที่ถาม
Note : สารอินเทอร์มีเดียตหรือสารตัวกลางหรือสารมัธยันต์ คือ ไม่ใช่สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์  เกิดขึ้นระหว่างปฏิกิริยาและถูกใช้หมดไป

ตัวเร่งปฏิกิริยา  คือ ใส่เพื่อทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาให้เกิดได้เร็วขึ้น สังเกตุจากการใส่ตั้งแ่ต่สารตั้งต้นหายไประหว่างปฏิกิริยา และได้กลับมาในตอนสุดท้าย

5.หาได้จากเครื่องแคลอริมิเตอร์


   q = ปริมาณความร้อน
   c = ค่าความจุความร้อน
   T = อุณหภูมิที่แตกต่างกัน (องศาเซลเซียส)
   m = มวลสาร (g)
   s  = ค่าความร้อนจำเพาะ

Ps.สงสัยอะไร ถามได้ในคอมเม้นต์จ้า ( ̄﹏ ̄”)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น